คลื่นกล (Mechanical Wave) คือเคลื่อนที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่เกิดจากการถ่ายโอนพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยตัวอนุภาคนั้นเป็นตัวกลางในการพาพลังงานออกไปทำให้มีลักษณะเป็นคลื่นแพร่ออกไปแต่ว่าสิ่งที่เคลื่อนที่นั้นเป็นเพียงตำแหน่งของอนุภาคไปมารอบตุดสมดุลเท่านั้นไม่ใช่การเคลื่อนที่ของอนุภาค

หมายเหตุ: บทความนี้เป็นสรุปสูตรเพื่อใช้ในการสอบเท่านั้น ควรอ่านที่มาและความสำคัญเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจที่มากขึ้น

คลื่นกลต้องมี

  1. แหล่งกำเนิด
  2. ตัวกลาง
  3. สมบัติทางฟิสิกส์

ชนิดของคลื่น

คลื่นตามยาว (Longitudinal Waves) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเสียง

คลื่นตามขวาง (Transverse Waves) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางถูกรบกวนเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศทางที่เคลื่อนที่ไป เช่น คลื่นในเส้นเชือก

อัตราเร็วคลื่นในเส้นเชือก

  • คือความเร็วของคลื่นในเส้นเชือก
  • คือแรงตึงเชือก
  • ค คือมวลต่อหนึ่งหน่วยความยาว

การสะท้อนของเส้นเชือก

  • ปลายตรึง แอมพลิจูดเท่าเดิม เฟสตรงกันข้าม
  • ปลายอิสระ แอมพลิจูดเท่าเดิม เฟสเท่าเดิม
  • เชือกเส้นใหญ่ไปเส้นเล็ก มีทั้งไปต่อและสะท้อนกลับ แอมพลิจูดลดลง คลื่นที่สะท้อนกลับมีเฟส ตรงข้าม กับคลื่นที่เคลื่อนไปด้านหน้า
  • เชือกเส้นใหญ่ไปเส้นเล็ก มีทั้งไปต่อและสะท้อนกลับ แอมพลิจูดลดลง คลื่นที่สะท้อนกลับมีเฟส เท่ากับ คลื่นที่เคลื่อนไปด้านหน้า

คลื่นไซน์

เขียนอย่างย่ออยู่ในรูปแบบของ

  • คือการเคลื่อนที่ในแนวแกน y
  • คือแอมพลิจูดของคลื่น
  • คือเลขคลื่น
  • คือการเคลื่อนที่ในแนวแกน x
  • คือความเร็วเชิงมุม
  • คือเวลาในการเคลื่อนที่

  • คือเลขคลื่น
  • คือความยาวคลื่น
คัดลอกไปยังคลิปบอร์ดแล้ว