การเคลื่อนที่แบบออสซิเลตคือการเคลื่อนที่กลับไปกลับมายังจุดสมดุล อาจมีชื่อเรียกอื่นๆเช่น การเคลื่อนที่แบบครบรอบ (Periodic motion) การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic motion) การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต (Oscillatory Motion) โดยตัวอย่างของการเคลื่อนที่ประเภทนี้ได้แก่ ลูกตุ้มและมวลติดสปริง

หมายเหตุ: บทความนี้เป็นสรุปสูตรเพื่อใช้ในการสอบเท่านั้น ควรอ่านที่มาและความสำคัญเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจที่มากขึ้น

วัตถุติดสปริง

  • คือ แรงที่วัตถุกระทำต่อสปริง
  • คือ ระยะกระจัด
  • คือ ค่านิจจ์สปริง

ฮาร์โมนิกอย่างง่าย

  • คือ ระยะกระจัด
  • คือ อัตราเร็ว
  • คือ ความเร่ง
  • คือ ความเร็วเชิงมุม
  • คือ มุมเฟส
  • คือ ค่านิจจ์สปริง
  • คือ มวลของวัตถุ
  • คือ แอมพลิจูด

พลังงานของการเคลื่อนที่ฮามอร์นิกอย่างง่าย

  • คือพลังงานของการเคลื่อนที่
  • คือ ค่านิจจ์สปริง
  • คือ แอมพลิจูด

ลูกตุ้ม

  • คือ ความเร็วเชิงมุม
  • คือ ความยาวของเส้นเชือก
  • คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
คัดลอกไปยังคลิปบอร์ดแล้ว